- 1. Dangers of blue light หรือ อันตรายจากแสงสีฟ้า ทราบกัน ดีว่า ตอนนี้โลกและเทคโนโลยีมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปมาก ทาให้เราต้อง ปรับตัว ใช้เทคโนโลยีเพื่อการติดต่อสื่อสาร หรือรับชมได้รวดเร็วสะดวกสบาย มากขึ้น ทาให้ไม่ว่าเราจะมองไปทางไหนก็จะเห็นผู้คนก้มหน้าเล่นมือถือสมาร์ท โฟนหรือแท็บเล็ตต่างๆ ไม่ว่าจะตอนนั่งรถ กินข้าว กาลังเดิน ก่อนนอน หรือ แม้กระทั่งตอนเข้าห้องน้า จนทาให้เราลืมให้ความสาคัญกับดวงตา ซึ่งอย่างที่รู้ว่า เราหลีกเลี่ยงแสงสีฟ้าได้ยากมาก ดังนั้นเราต้องมา ทาความรู้จักถึงอันตราย อาการและวิธีการป้องกันแสงสีฟ้าบนมือถือ ทาลาย ดวงตาเบื้องต้นเสียก่อน
- 2. แสงสีฟ้า คือ คลื่นแสงพลังงานสูง ที่มีความยาวคลื่น 400 – 500 นาโนเมตร โดยแสงสีฟ้าจะพบมากในมือถือสมาร์ทโฟน และแท็บเล็ต ที่ใช้กันตลอดเวลา มากกว่าอุปกรณ์ชนิดอื่นๆ ทาให้เป็นอันตรายต่อดวงตาของเราอย่างที่เราคาดไม่ถึง
- 3. ทาไมแสงสีฟ้าและมีกาลังแรงจึงมีอันตราย ? การใช้มือถือสมาร์ทโฟน และแท็บเล็ตอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน จะเกิดผลกระทบกับเราเช่น ปวดตา ตาแห้ง พร่ามัว น้าตาไหล จากงานวิจัยทางการแพทย์พบว่า แสงสีฟ้า (Blue Light) จะทาให้เซลล์ตายได้ เนื่องจากแสงสีฟ้ามีพลังงานมากพอที่จะไปกระตุ้นให้เกิดสารอนุมูลอิสระ ภายในลูกตา แล้วสารอนุมูลอิสระจะทาให้เซลล์ จอประสาทตาตาย ที่มา : http://news.siamphone.com/
- 4. การป้องกันรังสียูวีย่อมดีกว่าการรักษา ในเทคโนโลยีทางการแพทย์ก็มีการป้องกันแสงสีฟ้า ตัวอย่างเช่น คนไข้ที่ผ่าตัดสลายต้อกระจก สามารถเลือกเลนส์แก้วตาเทียมชนิดที่กรองแสงสีฟ้ามาใส่แทนได้ หากเราต้องใช้สายตากับ หน้าจอมือถือสมาร์ทโฟน และแท็บเล็ตทั้งวันเราควรหาหรือวิธีป้องกัน และดูแลรักษาดวงตา เช่น แว่นกรองแสง หรืออย่างตอนนี้มีการติดฟิล์มกันรอยที่สามารถ ตัดแสงสีฟ้า ก็สามารถ ช่วยป้องกันอันตรายได้แล้ว
- 5. มีผลทาให้เราใจร้อน คาดหวังผลเร็วขึ้น อารมณ์หงุดหงิดง่าย แต่เดิมในยุคที่เราสื่อสารด้วยการ ส่งจดหมายติดแสตมป์ต้องใช้เวลากว่าที่จะ สื่อสารกันได้หากว่าเป็นข้ามทวีปด้วยแล้วเป็นหลักสัปดาห์ทีเดียว แต่ปัจจุบันส่ง อีเมลล์ข้ามทวีปไปแล้วหากมองนาฬิกาแล้วคิดว่า อีกฝ่ายน่าจะต้องตื่นแล้ว และไม่ ตอบมาในทันที อีกฝ่ายก็รู้สึกขุ่นมัวแล้วว่าอีกฝ่ายหายไปไหน ทาไมไม่ตอบ เพราะมีสมมุติฐานเบื้องต้นว่าโลกหมุนเร็วแล้วทุกคนต้องเร็วเท่ากัน พอเกิดความ คาดหวังแล้วไม่สมหวังก็เกิดอารมณ์ขุ่นมัวและบ่อยๆครั้งก็ไม่รู้ว่า นั่นคือการเกิดโทสะขึ้นมาแล้ว เก็บความคับข้องใจกลายเป็นอารมณ์ต่อไปอีก
- 6. ขาดสติ ขาดความรู้ตัวทั่วพร้อม จนอาจจะก่อเกิดอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น นอกเหนือไปจากนี้การที่สังคมเราเป็น “สังคมก้มหน้า” ใจลอย จิตไปจดจ่ออยู่กับเนื้อหา “คอนเทนต์” บนหน้าจอสมาร์ทโฟน และแท็บเล็ต จนไม่เหลือปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก ทั้ง ๆ ที่บางทีอยู่ในภาวะที่จาเป็นต้องระมัดระวังตัว เช่น การข้ามถนน หรือขับรถอยู่บน ทางด่วน นั้นเป็นสิ่งที่สะท้อนจิตใจแบบใด “ความรู้ตัวทั่วพร้อม” ยังอยู่ครบดีหรือไม่ หรือว่าจิตใจเราลอยไปอยู่กับสิ่งอื่นและไม่สามารถที่จะควบคุมด้วยตนเองได้อีกต่อไปแล้ว
- 7. "เท็กซ์เนค" เป็นคาที่ นายแพทย์ดีน ฟิชแมน แพทย์กายภาพบาบัดผู้เชี่ยวชาญด้านบาบัด อาการของกระดูกสันหลังชาวอเมริกัน คิดขึ้นเพื่อใช้เรียกกลุ่มอาการของโรคที่เกิดขึ้นจาก การ "ก้มหน้า" บ่อยๆ ซ้าๆ และนานเกินปกตินี้ อาการที่เกิดขึ้นมีตั้งแต่การปวดกล้ามเนื้อ บริเวณไหล่ กล้ามเนื้อคอ ปวดศีรษะเรื้อรัง ปวดทุกวัน หนักเข้าก็อาจพาลไปถึงเกิดการอักเสบของข้อต่อกระดูกสันหลังส่วนบน การก้มหน้าในลักษณะนี้บ่อยๆ นานๆ จะส่งผลต่อบุคลิกท่าทาง และการเติบโตของร่างกายในเด็กและวัยรุ่น ให้ออกมาบิดเบี้ยวโค้งงอจนต้องมาหาทางแก้กันยุ่งยากในภายหลัง
- 8. ในอดีตโรคทางสายตาส่วนใหญ่มักจะเกิดกับผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ทาให้คนในวัยหนุ่มสาวมองเป็นเรื่องไกลตัว แต่ปัจจุบันจากการสารวจและศึกษาสถิติ การเป็นโรคทางสายตาในประเทศไทย พบว่าอัตราการเกิดโรคเพิ่มสูงขึ้นทุกปี ผลสารวจสุขภาพสายตาคนไทยปี 2549 ระบุว่าคนไทยไม่น้อยกว่า 15 ล้านคน มีสายตาผิดปกติ คาดว่าจะตาบอด 369,013 คน สายตาเลือนราง 987,993 คน และมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆทุกปี เพราะไลฟ์สไตล์ที่เปลี่ยนไปของคนยุคใหม่ มีการใช้สายตากันมากขึ้น ส่งผลให้ “อายุตา” สูงกว่าอายุตัว
- 9. ในประเทศญี่ปุ่นได้มีการศึกษาพบว่า ผู้ที่ใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในแต่วันเป็น เวลานานๆหลายชั่วโมงติดต่อกัน มีความเสี่ยงในการเกิดคอมพิวเตอร์วิชชั่นซินโดม แล้วยังมีความสัมพันธ์กับจานวนการเกิดต้อหินในการประชากรที่เพิ่มขึ้นด้วย ซึ่งหาก วินิจฉัยและรักษาช้าเกินไปจะทาให้สูญเสียการมองเห็นถาวร
- 10. เมื่อได้เรียนรู้เกี่ยวกับสังคมก้มหน้ากันไปแล้ว แล้วอยากรู้ไหม ว่าสถิติของคนไทย ที่ใช้เวลาไปกับสื่อต่างๆในแต่ละวัน มากน้อยเพียงใด
- 11. ต้องให้ความสาคัญต่อคนรอบข้างที่เป็นสิ่งแวดล้อมจริงในชีวิตประจาวัน หากิจกรรมยามว่างทากับคนในครอบครัว เพื่อนๆ เช่น ออกกาลังกาย ดูหนัง ฟังเพลง เที่ยวพักผ่อน
- 12. ควรพักสายตาทุก 15 นาที หากต้องใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานเกินไป ใช้ระยะเวลาให้เหมาะสม ควรพักทุก 1-2 ชั่วโมง เปลี่ยนอิริยบทไปทากิจกรรมอย่างอื่นบ้าง
- 13. การพักสายตาที่ดีที่สุดคือการนอน แต่ถ้าไม่สามารถนอนได้ ให้มองไปไกลๆ หรือพื้นที่สีเขียวเช่น ต้นไม้ เพื่อลดการเพ่งของสายตา
- 14. ผู้ใหญ่ควรดูแลแนะนาเรื่องเนื้อหาที่เหมาะสมบนโลกอินเตอร์เน็ตให้กับลูกๆ ให้รู้เนื้อหาไหนดี ไม่ดี ควรและไม่ควรทาและต้องเรียนรู้ปรับเข้าหากิจกรรมทางสังคมออนไลน์กับลูกๆ เพื่อ เรียนรู้พฤติกรรมและชี้นาคอยตักเตือนลูกๆ ด้วยไม่ให้ลูกหลงผิดจากโลกออนไลน์
- 15. อย่ามักง่ายที่จะใช้โทรศัพท์เป็นตัวกลางในการสื่อสารทุกครั้ง เพราะนั่นจะทาให้เรากลายเป็น คนพูดไม่เป็น ใช้ถ้อยคาห้วนๆ ปราศจากความไพเราะ ดังนั้นในเราควรที่จะใช้คาพูดเป็น ตัวกลางในการสื่อสาร ยังเป็นมิตรไมตรีต่อคนรอบข้างอีกด้วย
- 16. LASIK Counsault JR ,2014 ,5 วิธีลดภาวะคอมพิวเตอร์วิชั่นซินโดรม,verify by Dr. Anun Vongthongsri ,Laservision International LASIK Center
- 17. สังคมก้มหน้า โรคนิ้วล็อก อันตรายใกล้ตัว น่ากลัวกว่าที่คิด เพราะความสะดวกจากการใช้สมาร์ทโฟน แท็บเล็ตในปัจจุบัน ที่คนส่วนใหญ่ใช้เป็น เครื่องมือติดต่อสื่อสาร ทางานและให้ความบันเทิง แพทย์เตือน พิมพ์เยอะส่งผลกระทบต่อ เส้นเอ็น หากอาการหนักอาจถึงขั้นต้องผ่าตัดรักษา... ซึ่งเชื่อว่าคนส่วนใหญ่น่าจะเคยได้ยินคา เตือนเรื่องนิ้วล็อกกันมาบ้างแล้ว และแม้ว่ารู้ทั้งรู้ว่าการกดๆ จิ้มๆ สไลด์หน้าจอไปมาจะสุ่มเสี่ยงโรค แต่ทุกคนก็ยังเต็มใจทาแบบไม่แคร์! ต่อโรคภัย ที่กาลังรอรุมทึ้งร่างกาย
- 18. สาหรับอาการที่กลุ่มคนเหล่านี้จะมาพบแพทย์ คือ ปวดบริเวณโคนนิ้วด้านในฝ่า มือ มีอาการนิ้วสะดุดหรืองอเหยียดนิ้วได้ไม่สุด มีอาการปวดช่วงเช้าและจะดีขึ้นเมื่อขยับมือ สักพัก ในการรักษาโรคดังกล่าวแพทย์ต้องประเมินก่อนว่าผู้ป่วยอยู่ในระยะใดของอาการ แค่การอักเสบ หรือถึงขั้นเป็นโรคนิ้วล็อกแล้ว
- 19. แพทย์จะเริ่มต้นการรักษาด้วยการให้หยุดพักการใช้งานนิ้วมือ ร่วมกับการทานยาต้านการ อักเสบของเส้นเอ็นหรือยาแก้ปวด และการกายภาพเอ็นข้อนิ้ว โดยใช้หนังยางหนาใส่นิ้วและถ่าง ออก โดยทาอย่างน้อยวันละ 30-60 รอบ หากอาการยังไม่ดีขึ้น อาจต้องฉีดยาลดการอักเสบ สเตียรอยด์ หรือต้องเข้ารับการผ่าตัดขยายปลอกหุ้มเส้นเอ็น เพื่อทาให้เอ็นเคลื่อนไหวได้ดีขึ้น ทั้งนี้ ผู้ป่วยจะต้องทาตามคาแนะนาของแพทย์อย่างเคร่งครัด และพยายามหลีกเลี่ยงการเล่น สมาร์ทโฟนที่บ่อยเกินไป
- 20. โฮเทลส์ ดอทคอม เผยคนไทยติดมือถืออันดับ 1 จากกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวจาก 28 ประเทศ ที่พกมือถือตลอดเวลาแม้แต่ไปพักร้อน โดยคนไทย โดย 6 ใน 10 ใช้เวลาไปกับการเช็กอีเมล์บนมือถือ และ 100% ใช้เพื่อเชื่อมต่อกับโลกโซเชียล...
- 21. ทาไมคนไทยถึงใช้โทรศัพท์มือถือในการต่ออินเทอร์เน็ต ?
- 22. แล้วคนไทยส่วนใหญ่ พวกสังคมก้มหน้าใช้โทรศัพท์ในช่วงเวลาใดบ้างนะ ?
- 23. บ่อยไปไหมนะ...
- 24. กิจกรรมใดบ้างหล่ะ ที่คนไทยนิยมใช้ผ่านโทรศัพท์มือถือ ?
- 25. ผ่าพฤติกรรมคนไทยผ่านโซเชียลมีเดีย
- 26. ผลงานวิจัยของ InsightExpress บริษัทผู้วิจัยตลาดในสหรัฐฯ ที่ศึกษาพฤติกรรมของการใช้สมาร์ทโฟนในปัจจุบันของมนุษย์ ที่มีการวิจัยมาแล้วว่า คนไทยติดสมาร์ทโฟน 98% และขาดไม่ได้ http://bit.ly/1DaSWV4
- 27. ดังนั้นเราควรพยายามหลีกเลี่ยงการเล่นสมาร์ทโฟนที่บ่อยเกินไป เมื่อได้รู้ถึงข้อเสียและผลกระทบต่อเราแบบนี้แล้ว ก็เงยหน้าสู่สังคมแท้จริงกันให้มากขึ้น เพลาการกดการจิ้มสารพัดจอในมือลงไปหน่อย ไม่ใช่ประโยชน์ของใคร เพื่อสุขภาพของคุณเอง!
- 28. แล้วเราควรจะใช้เวลากับ โซเชียลมีเดียแค่ไหน ถึงจะไม่ติด ?
- 29. โดยเริ่มจากการจับเวลาพฤติกรรมการใช้งานโซเชี่ยลมีเดีย ของคุณในแต่ละวัน ว่าคุณใช้เวลาเท่าไร หลังจากนั้นค่อยตั้งเป้าหมายในการใช้เวลาแต่ละครั้ง ให้ลดลง ก่อนใช้งานลองชาเลองเวลาที่คุณใช้จดลงกระดาษเอาไว้ ซึ่งหากคุณพบว่าคุณใช้เวลามากเกินไป คุณต้องเริ่มกาหนดตัวเองให้ใช้ลดลง กาหนดเวลาในการใช้งาน (Time Setting)
- 30. ประกาศบอกออกไปให้คนอ่นๆ ได้รู้ว่าคุณกาลังจะลดการใช้งานโซเชี่ยลมีเดีย เช่น คนใกล้ตัว แฟน ลูกๆ โดยเฉพาะเพ่อนๆ ในโซเชี่ยลมีเดียของคุณ เพราะคนเหล่านั้น จะเป็นคนคอยเตอนคุณว่าคุณใช้งานโซเชี่ยลมีเดียมากไป ให้คนรอบข้างเป็นคนช่วย (Get Help from friends) กาหนดบทลงโทษตัวเองเอาไว้ หากตัวเองละเลยหรีอทาผิดใช้งานเกินที่กาหนด หากจะได้ผล จงกาหนดกฎนี้ไว้กับคนสนิทใกล้ตัว เช่น ครอบครัว แฟน ลูกๆ เพราะคนรอบข้างจะ เป็นคนช่วยคุณได้ดีมากบางครอบครัวกาหนดกฏขึ้นมาเลย เกี่ยวกับเรี่องนี้ กำหนดบทลงโทษ (Penalty)
- 31. หลายคนที่ติดและใช้เวลากับโซเชียลมีเดียมากเกินไป เพราะว่าคุณมีโซเชียล มีเดียหลายตัวให้ใช้มากเกินไป ซึ่งบางทีมันเยอะเกินไป ดังนั้นเอาตัวที่คุณ ไม่ค่อยได้ใช้ออกไปจากมอถอของคุณ จะช่วยทาให้คุณใช้เวลาน้อยลงไปได้ เลีอกโซเชี่ยลมีเดียที่คุณใช้บ่อยที่สุด (Select Social Media You use the most) หลายครั้งที่คุณหยิบโทรศัพท์ขึ้นมาเพราะมีระบบเตอน ดังนั้นการปิดระบบเตอน หรอตั้งเวลาเปิดปิดโทรศัพท์ จะช่วยลดการเข้าถึงอุปกรณ์พกพาคุณได้ดีขึ้น นั้นหมายถึงการลดการใช้โซเชี่ยลมีเดียได้เช่นกัน ปิดระบบเตี่อน (Turn off notifications)
- 32. เตรียมหากิจกรรมอย่างอ่นเอาไว้ก่อน เม่อเวลาที่คุณรู้สึกว่าคุณใช้โซเชี่ยลมีเดีย มากเกินไป จงหันไปใช้เวลากับกิจกรรมอย่างอ่นแทนเช่น อ่านหนังสอ, ออกกาลังกาย, เล่นกันลูกๆ, สวดมนต์. ออกไปเที่ยวข้างนอก เป็นต้น หากิจกรรมอย่างอี่นทาแทน (Find other Activity) แนะนาให้เปลี่ยนมอถอไปใช้รุ่นที่ต่อโซเชี่ยลมีเดียได้ยาก ยกเลิกการใช้อุปกรณ์ พกพาอย่างแท็ปเล็ตไปเลย ยกเลิกการต่อเน็ตผ่านมอถอ หรออาจจะยกเลิก ปิดบริการโซเชี่ยลมีเดียที่ใช้งานไปเลย ซึ่งจะลดการใช้งานได้แน่นอน หักดิบเลย (Sudden Terminate)
- 33. และใช่ว่าทุกๆอย่างจะมีแต่ข้อเสียทั้งหมด เสมอไป.. เพราะในยุคของการเป็นสังคมก้มหน้า ก็มีข้อดีอยู่หลายด้านเช่นเดียวกัน
- 34. ในยุคสังคมก้มหน้านี้เทคโนโลยีสามารถใช้ประโยชน์ให้กับเราได้ดี เช่น ใช้ ทางาน สบค้นข้อมูล โทรศัพท์ กล้องถ่ายรูป เป็นอุปกรณ์ส่อสารที่ส่งได้ทั้งภาพและเสียง แบบปัจจุบันทันที ประเภทของผู้ที่ใช้งานมีทุกเพศทุกวัย แต่ส่วนใหญ่เป็นวัยรุ่นและหนุ่ม สาวที่มีความชานาญและเชี่ยวชาญในการใช้โปรแกรมและอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังกล่าวเสมอน เกิดมาเพ่อสิ่งนี้ ทุกวันนี้เราก็ได้มีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารผ่านสังคมก้มหน้าได้หลาย ช่องทาง รวมทั้งการเรียนการสอนทางไกลน่าจะใช้ประโยชน์จากช่องทางนี้ได้มาก
- 35. ข้อดีหลำย ๆ อย่ำงที่เทคโนโลยีได้ช่วยเรำมำกขึ้น จำกกำรทำธุรกิจ กำรเรียน กำรศึกษำ กำรแบ่งปัน กำรป้องกัน กำรหำควำมรู้ ถูกส่งต่ออย่ำงรวดเร็ว เพียงปลำยนิ้ว หำกเรำใช้อย่ำงมีประโยชน์มันก็เป็นสิ่งที่ดี และเพิ่มพูนควำมรู้รอบตัวให้แก่เรำ •นักธุรกิจทำรำยได้มหำศำลจำกกำรขำยของผ่ำนอินเตอร์เน็ต •ตำรวจจับคนร้ำยได้อย่ำงง่ำยดำยด้วย FB •นักศึกษำส่งงำนผ่ำน Email โดยไม่ต้องเสียเวลำหรอกระดำษปริ้นผิดปริ้นถูกก่อนส่ง • ประชำชนรู้เท่ำถึงกำรณ์ในเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ เร็วยิ่งกว่ำ Real-Time ฯลฯ
- 36. • 38% ตอบว่า มีส่วนช่วยทาให้รู้จักสิ่งใหม่ • 19% ตอบว่า ทาให้รู้ว่าสถานที่ใกล้เคียงมีอะไรบ้าง • 18% ตอบว่า ช่วยให้ข้อมูล หรอทางเลอกที่ดีกว่า • 13% ตอบว่า ช่วยเพิ่มการทบทวน หรอตัดสินใจเกี่ยวกับสินค้าและ ผลิตภัณฑ์ได้อีกครั้ง • 9% ตอบว่า มีอิทธิพลต่อการซ้อสินค้าหรอบริการผ่านโทรศัพท์มอถอ • 7% ตอบว่า มีอิทธิพลต่อการซ้อสินค้าหรอบริการที่ร้านค้า คนไทยคิดอย่างไร เมี่อกล่าวถึงประโยชน์ หรี่อ สิ่งที่ได้รับจากโฆษณาบนโทรศัพท์มี่อถี่อ
- 37. ผู้ใช้สมาร์ทโฟนหรือผู้ที่ติดโซเชียลมีเดียนั้น อาจไม่ได้รับรู้ถึงผลกระทบ และผลเสียอย่างถี่ถ้วนมากนัก แต่เมื่อเราได้รู้ถึงอันตรายต่างๆ ของการเป็นสังคม ก้มหน้าแล้ว เราควรที่จะดูแลตนเอง ปรับปรุงตนเอง รวมถึง ผู้ใช้รอบข้างอีกด้วย ถึงแม้โซเชียลมีเดียจะมีข้อดีมากมายเช่นกัน แต่อย่างไรก็ตามแล้ว ก็มีข้อเสียอยู่ เสมอทุกด้าน ดังนั้นการใช้อย่างถูกวิธี ใช้อย่างพอสมควร จะเป็นประโยชน์และ ผลดี ไม่ใช่เพื่อใคร แต่เพื่อตัวของเราเอง
- 38. 1. นางสาวนฤมล สว่างวรรณ เลขที่ 15 ชั้น ม.6/10 2. นางสาวเสาวณี กุ่ยแก้ว เลขที่ 23 ชั้น ม.6/10 ชี่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขี่อนทอง มูลวรรณ์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ชี่อผู้จัดทาโครงงาน เรี่อง สังคมก้มหน้า
วันอาทิตย์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2558
Dangers of blue light
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
กรุณาลบข้อมูลของดิฉันและเพื่อนด้วยค่ะ ข้อมูลสำหรับเผยแพร่ก็จริง แต่ไม่สามารถให้นำไปใช้ประโยชน์ส่วนบุคคลค่ะ ขอบคุณค่ะ
ตอบลบลงชื่อเจ้าของข้อมูล นฤมล และ เสาวณี.